บทความ

เคมี 5 (สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์)

รูปภาพ
สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์             สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดต้องการอาหารแตกต่างกันออกไป และเมื่อได้รับอาหารเข้าไปก็จะย่อยและแปลงโครงสร้างโมเลกุลให้เล็กลง เพื่อให้ร่างกายสามารถนำไปใช้ได้โดยง่าย สารอาหารที่สิ่งมีชีวิตได้รับเข้าไปแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ สารอินทรีย์ (Organic) และสารอนินทรีย์ (Inorganic) สารอินทรีย์คือ สารที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ โดยสามารถเกิดขึ้นได้ตามธรรมชาติหรือเกิดจากการสังเคราะห์  ยกเว้นสารในกลุ่มต่อไปนี้ - เกลือคาร์บอเนต (CO3 2- ) - ไฮโดรเจนคาร์บอเนต (HCO3 - ) - สารประกอบออกไซด์ของคาร์บอน เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) - สารประกอบเกลือคาร์ไบด์ เช่น  แคลเซียมคาร์ไบด์ (CaC2) - เกลือไซยาไนด์ - เกลือไซยาเนต - สารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบเพียงธาตุเดียว เช่น เพชร โดยสารในกลุ่มดังกล่าวจะเรียกว่าเป็นกลุ่มสารอนินทรีย์​ สารอินทรีย์ซึ่งพบได้ในธรรมชาติ จะเรียกว่า สารชีวโมเลกุล เป็นสารที่มักจะเกี่ยวพันกับเราในรูปแบบของอาหาร ยกตัวอย่างเช่น สารในตระกูลคาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน และกรดนิวคลิอิก ซึ่งเมื่อวิเคราะห์แล้วจะพบว่า ส

เคมี 4 (สารชีวโมเลกุล)

รูปภาพ
สารชีวโมเลกุล             สารชีวโมเลกุลเป็นสารที่ สิ่งมีชีวิตใช้ในการดํารงชีวิต ซึ่งจําแนกได้เป็น 4 ประเภทได้แก่  โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ลิปิด และกรดนิวคลีอิก ซึ่งทั้งสี่ประเภทเกี่ยวข้องกับการดํารงชีวิตคือช่วยให้ ร่างกายเจริญเติบโต ให้พลังงานในการทํากิจกรรมต่างๆ ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง และช่วยถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมอาหารที่รับประทานเข้าไปมีสารอาหาร 6 ประเภทคือ ไขมัน คาร์โบไฮเดรต  โปรตีน แร่ธาตุ วิตามิน และนํา ซึ งแร่ธาตุ วิตามิน และนําไม่ใช่สารชีวโมเลกุลเนื่องจากเป็นสาร  อนินทรีย์ สารชีวโมเลกุลที กล่าวไปทั้ง 4 ประเภทที กล่าวไปนี้มีโครงสร้าง สมบัติ การเกิดปฏิกิริยา อย่างไร จะได้ศึกษาจากบทนี้ อาหาร  คือ สารที่เข้าสู่ร่างกายไปแล้วจะทำให้สิ่งมีชีวิตเจริญเติบโต ให้พลังงานเพื่อความแข็งแรง และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ อาหารประเภทต่างๆ ที่รับประทานในแต่ละวัน จำแนกออกได้เป็นหมู่ใหญ่ๆ คือ    หมู่ที่ 1 เนื้อสัตว์ต่าง ๆ ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง นม หมู่ที่ 2 ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน และน้ำตาล หมู่ที่ 3 ผักใบเขียว และพืชผักอื่น ๆ หมู่ที่ 4 ผลไม้ต่าง ๆ หมู่ที่ 5 ไขมันจากสัตว์และพ

เคมี 3 (อะตอมเคมี)

รูปภาพ
อะตอมเคมี        ดีโมครีตัส ( นักปราชญ์ชาวกรีก) ได้กล่าวว่าทุกสิ่งทุกอย่างประกอบขึ้นจาก อนุภาคที่เล็กมาก  เล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้   อนุภาคเล็กๆ เหล่านี้จะรวมพวกเข้าด้วยกันโดยวิธิการต่างๆ สำหรับอนุภาคเองนั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลงและไม่สามารถจะแตกแยกออกเป็นชิ้นส่วนที่เล็กลงไปอีกได้  ดีโมครี- ตัสตั้งชื่ออนุภาคนี้ว่า  อะตอม (Atom)     จากภาษากรีกที่ว่า  atoms  ซึ่งมีความหมายว่า   ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก     ตามความคิดเห็นของเขา  อะตอมเป็นชิ้นส่วนที่เล็กที่สุดของสสารที่สามารถจะคงอยู่ได้ ประโยชน์จากการเรียนเรื่องโครงสร้างอะตอม 1. ทราบสมบัติทางเคมีและสมบัติการเปล่งแสงของธาตุ 2. เราสามารถศึกษาแกแล็กซี่ (galaxy) ดวงดาวและดาวเคราะห์ต่างๆ โดยพิจารณาจากการศึกษาสเปกตรัมที่ได้จากดวงดาว แบบจำลองอะตอมของจอห์นดอลตัน จอห์น    ดอลตัน    นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้เสนอทฤษฎีอะตอมโดยอาศัยข้อมูลจากการทดลองที่พอจะศึกษาได้และนับว่าเป็นทฤษฎีแรกที่เกี่ยวกับอะตอมที่พอจะเชื่อถือได้   ซึ่งมีใจความดังนี้ สารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กที่สุดเรียกว่า “ อะตอม” อะตอมจะไม่สามารถแบ่งแยกได้    และไ

เคมี 2 (ตารางธาตุ)

รูปภาพ
ตารางธาตุ ตารางธาตุ  ( อังกฤษ :  Periodic table ) คือ  ตาราง ที่ใช้แสดงรายชื่อ ธาตุเคมี  ซึ่งจัดเรียงบนพื้นฐานของ เลขอะตอม  (จำนวนโปรตอนในนิวเคลียส)  การจัดเรียงอิเล็กตรอน  และ สมบัติทางเคมี  โดยจะเรียงตามเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะระบุไว้ในร่วมกับ สัญลักษณ์ธาตุเคมี  ในกล่องของธาตุนั้น ตารางธาตุมาตรฐานจะมี 18 หมู่และ 7 คาบ และมีคาบพิเศษเพิ่มเติมมาอยู่ด้านล่างของตารางธาตุ ตารางยังสามารถเปลี่ยนเป็นการจัดเรียงตาม บล็อก  โดย  บล็อก-s  จะอยู่ซ้ายมือ  บล็อก-p  จะอยู่ขวามือ  บล็อก-d  จะอยู่ตรงกลางและ บล็อก-f  อยู่ที่ด้านล่าง แถวแนวนอนในตารางธาตุจะเรียกว่า  คาบ  และแถวในแนวตั้งเรียกว่า  หมู่  โดยหมู่บางหมู่จะมีชื่อเฉพาะ เช่น แฮโลเจน  หรือ แก๊สมีตระกูล โดยคำนิยามของตารางธาตุ ตารางธาตุยังมี แนวโน้ม ของสมบัติของธาตุ เนื่องจากเราสามารถใช้ตารางธาตุบอกความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของธาตุแต่ละตัว และใช้ทำนายสมบัติของธาตุใหม่ ธาตุที่ยังไม่ถูกค้นพบ หรือธาตุที่สังเคราะห์ขึ้น และด้วยความพิเศษของตารางธาตุ ทำให้มันถูกใช้อย่างกว้างขวางในการศึกษาวิชาเคมีหรือวิทยาศาสตร์สาขาอื่น ๆ ดมีตรี เมนเดเลเยฟ  ร

เคมี 1 (สารละลาย)

รูปภาพ
สารละลาย (solution) การละลายของสารในตัวทำละลาย สารชนิดเดียวกันละลายในตัวทำละลายต่างชนิดได้แตกต่างกัน  คือ 1)  สารบางชนิดอาจไม่ละลายน้ำ แต่ละลายในตัวทำละลายชนิดอื่น  เช่น  ลูกเหม็น  เชลแล็ก ไม่ละลายน้ำ  แต่ละลายในแอลกอฮอล์ 2)  สารบางชนิดอาจละลายได้ในตัวทำละลายหลายชนิด  เช่น  สีผสมอาหารละลายในน้ำ และละลายในแอลกอฮอล์ เมื่อใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย  สามารถแบ่งสารออกเป็น  2  ประเภท  คือ  สารที่ละลายน้ำ  และสารที่ไม่ละลายน้ำ  จะเห็นว่าสารต่างชนิดกันละลายน้ำได้ต่างกัน ถ้าตัวละลายเป็นของแข็งละลายในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว  ตัวละลายจะแพร่ในตัวทำละลาย  เมื่อตัวละลายละลายหมด จะมองเห็นสารละลายเป็นเนื้อเดียวกัน ไม่มีตะกอน เนื่องจากตัวละลายที่เป็นของแข็งแทรกอยู่ในตัวทำละลาย  เช่น  การละลายของน้ำตาลในน้ำ  การละลายของเกลือในน้ำ  เป็นต้น  ในกรณีที่ตัวละลายไม่ละลายในตัวทำละลาย  แสดงว่าตัวละลายไม่สามารถแทรกตัวในตัวทำละลายชนิดนั้นได้  จึงมองเห็นไม่เป็นเนื้อเดียวกัน ภาพแสดงการละลายของเกลือ ความรู้เกี่ยวกับการละลายของสารในตัวทำละลายต่าง ๆ นำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้หลายประการ เช

ผู้จัดทำ

รูปภาพ
Homepage Profile Name : นาย เอกดนัย หล่าหา Nickname : ใบหม่อน Class : 6/7 No. : 5

ความหมายการนำเสนอ

รูปภาพ
ความหมายการนำเสนอ Homepage